วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
เครื่องมือประกอบอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่งชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเนเครือข่ายได้หลายแบบ

คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์หมายถึง
ส่วนประกอบเป้นเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
ส่วนที่1
หน่วยรับข้อมูลเข้า(Input Unit)
เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่ป้อนสัญญษณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ ได้แก่
-แป้นอักขระ
-แผ่นซีดี
-ไมโครโฟน

ส่วนที่2
 หน่วยประมวลผลกลาง
(Central Processing Unit)
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้มา

ส่วนที่3
หน่วยความจำ
( Memory Unit )
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางและผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล

ส่วนที่4
หน่วยแสดงผล (Output Unti)
ทำหน้ที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอรืทำการประมวลผลหรือผ่านการคำนวน

ส่วนที่5
อุปกรณ์ต่อพ่วง  (Peripheral Equipmant)
เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที

2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานได้ตลอด 24 ชม. ใช้แทนกำลังคนได้มาก

3.มีความถุกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้

4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร

5.สามารถย้ายถ่ายโอนข้อมูลจากเครื่องนึงไปเครื่องนึง


หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูลรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักาข้อมูลได้ตลอดเวลาไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว

1.ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต


2.ใช้ในการการเก็บข้อมุล โปรแกรมไว้อย่างถาวร

3.ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมุลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องหนึ่ง

ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง

หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัยหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือปัญหาทางไฟฟ้า อาจจะทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำต้องมีหน่วยความจำรอง เพื่อนำข้อมุลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่พบในรูปของสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลภายนอกเช่น ฮาร์ดดิสกื แผ่นบันทึก ชิปดิกสื ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล้กหน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรอง ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ปกติ

ส่วนแสดงผลข้อมูล

คือส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในการประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลได้แก่ จอภาพ(Monitor) เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องพิมพ์ภาพ Ploter และลำโพง
(Speaker) เป็นต้น

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (PEOPLEWARE)
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปที่อย่างราบรื่นอาจจะประกอบเพียงคนเดียว หรือหลายคนหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยคอมพิวเตอร์

ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (PEOPLEWARE)
1.ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2.ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3.ปฏิบัติงานเครื่องและบริการ

บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1.หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์(EDP Manager)

2.หัวหน้าฝ่ายวิเคาระห์และวางแผนระบบงาน(System Analyst หรือ SA)


ต่อ
1.ผุ้จัดการระบบ (System Manager)
2.นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคาระห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตรอ์ระบบงาน เพื่อให้เปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3.โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
คือผู้เขียนโปรแกรมคำสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่วิเคาระหืระบบเขียนได้

4.ผู้ใช้

คือผู้ใช้งานคอมพิวเตรอ์ทั่วไป


ซอร์ฟแวร์
ตือการลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าทำอะไร เป็ชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห้นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถสร้าง จัดเก้บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิด แผ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟล็ชไดร์ฟ

หน้าที่ของซอร์ฟแวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีวอร์ฟปวรื เราก้ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอร์ฟแวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้หลายประเภท

ซอร์ฟแวร์แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ (Application Software)
และซอร์ฟแวร์ใช้งานเฉพาะ

1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอร์ฟแวร์ระบบ  คือ
ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่นรับข้อมุลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำสำรอง


System Software หรือโปรแกรมที่รู้จักกันดีคือ DOS,Window,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมระดับสูง เช่นภาษา Basic , Fortran,Pascol,Cobol,C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ

หน้าที่ของซอร์ฟแวร์ระบบ
1.การใช้ในการจัดการหน้วยรับหน่วยส่งออกเช่นรับรู้การกดแป้นต่างๆ บนแผงหรือแป้นคีย์บอรืด ส่งรหัสอัการออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆเช่นเมาส์ ลำโพงเป็นต้น

2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก

3.ใช้เป็นหน่วยเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างง่ายขึ้น เช่นขอดูรายการในสารบบ (directory) ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
ซอร์ฟแวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฎิบัติการและตัวแปลภาษา

ประเภทของซอร์ฟแวร์ระบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.ระบบปฎิบัติการ (Operating System : OS )
ซอร์ฟแวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอรทุกเครื่องจะต้องมีซอร์ฟแวร์ระบบปฎิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส วินโดว์ ยูนิกส์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
1)ดอส(Disk Operating System :DOS) เป็นซอร์ฟแวร์จัดการระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอร์ฟแวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันระบบปฏิบัติ

2)วินโดว์ (Window) เป็นระบบปฏิบัติก่ารที่พัฒนาจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้เมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินดดวยังสามารถทำงานได้หลาย
งานพร้อมกันได้  ดดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่างหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟฟิก
 3)ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมือมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติงานยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน ยึนิกซ์ยังถุกออกมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน

4)ลีนุกซ์ (linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ้งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบนี้เป็นที่นิยมมากขึ้นเพราะเนื่องจากมีการปรยะยุกต์ต่างๆบนลีนุกซ์จำนวนมาก ดดยเฉพาะโปรแกรมในหมู่กูส์นิว (GNU) และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือระบบลีนุกซ์เป็นระบบแจกฟรี

ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูลเช่นอินเทล (PC INTEL) ดิจิตอล (Digital Alpha Computer) และซันสปาร์ค ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดว์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ต่าม  แต่ผู้ใช้ก็หันมาใช้โปรแกรมประยุกต์มากขึ้น

5)แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอชส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟฟิก ออกแบบต่างและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ

นอกจากนี้ระบบปฏบัติงานที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏบัติการอีกมาก เช่นระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์

ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ชนิดด้วยกันคือ
1.ประเภทใช้งานเดี่ยว  (Single-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดลเกอย่างไมโครอคอมพิวเตอร์ เช่นระบบปฏิบัติงานดอส เป็นต้น

2.ประเภทใช้ได้หลายงาน (Multi-tasking)
ระบบปฏบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำง่านพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้งานสามารถทำงานที่เดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ window98 ขึ้นไป ปละ unix  เป็นต้น

3.ประเภทใช้งานได้หลายคน (Multi-user)
ในหน่วยงานบางแห่งอาจจะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขระใดขณะหนึ่งมีผุ้ใช้งานคอมหลายคน


2.ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟแวรืที่ใช้ในการแปลภาษาระดับภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับ
สูงให้เป็นภาษาเครื่อง

   ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ้งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขวอฟแวร์ในภายหลังได้
   ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา
 
  ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่ภาษา Basic , Pascal , C และ ภาษาโลโก เป็นต้น
 นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran ,Cobal , ภาษาอาร์พีจี

2.2ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน  การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์

แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ

1.ซอร์ฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้โดยเฉพาะ (Proprietary Software)
2.ซอร์ฟแวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป (Packaged Software)
มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ (Customized Package) และ โปรแกรทมาตรฐาน (Standard Package)

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์

แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
1.กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ (Business)
2.กลุ่มการใช้งานด้านกราฟฟิกและมัลติมิเดีย(Graphic and Multimedia)
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร(We


กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ (Business)
ซอร์ฟแวร์กลุ่มนี้ ถูกนำมาใช่โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่นการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น:

โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word, Sun StarOffice Writer

โปรแกรม ตารางคำนวน อาทิ Microsoft Excel , Sun StarOffice Cals
 
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ Microsoft  PowerPoint , Sun StarOffice Impress


กลุ่มการใช้งานด้านกราฟฟิกและมัลติมิเดีย(Graphic and Multimedia)

ซอร์ฟแวร์กลุ่มนี้ถุกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น
เช่น เช่นตกแต่ง วาดรุป ปรับเสียง  ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว  แบะการสร้างและออกแบบเว็บไซตื ตัวอย่างเช่น

โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional

โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CoreIDRAW. Adobe Photoshop

โปรแกรมตัดต่อวีดีโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere , Pinnacle Studio DV

โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware, Toolbook Instructor , Adobe Director

โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash , Adobe Dreamweaver

กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร

  เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตวอร์ฟแวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเช็คอีเมล การท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บไซต์ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่:

    โปรแกรมจัดการอีเมล  อาทิ Microsoft Outlook , Mozzila  Thunderbird

    โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer , Mozzila Firefox

    โปรแกรม ประชุมทางไกล (Video Conference) อาทิ Microsoft Netmeeting

โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ MSN MESSENGER/WINDOW MESSENGER , ICQ

  โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH

ความจำเป็นของซอร์ฟแวร์
 การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างคอมพิวเตอร์ในรุปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมานยบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้คำสั่งการคำนวนทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้คำสั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล  

ซอร์ฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์

เมื่อมนุษย์ต้องการใช้งานคอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถุกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการความรับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีการสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ สื่อกลางเรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย

ภาษาเครื่อง (Machin Languages)
  เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข0 และ1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้งานระบบเลขสองฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง

  การใช้ภาษาเครือ่งนี้แม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้มีข้อยุ่งยาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก


ภาษาแอสแซมบลี (Assembly Languages)
 เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสแซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสแซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษา เครื่องอย่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสแซมเบลอร์ (Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสแซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

ภาษาระดับสูง (High - Level  Languages)
   เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ทีมีลักษณะเป็นภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงเพื่อให้คอมพิวเตอร์นั้นมี2ชนิด ด้วยกันคือ

คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)

คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน
แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น

อินเทอร์พรีเตอร์
จะทำการแปลทีละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น  เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่ง
ลำดับต่อไป ช้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมกรือแปลทีละตัว


โครงสร้างของระบบคอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบ  Network และ  Internet

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.เครือข่ายเฉพาะที่(Local Area Network : LAN)
  เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN
จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆกัน เช่น อยู่ในภายในอาคารหรือหน่วยงานเดียวกัน

2.เครือข่ายเมือง(Metropo

3.เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network :WAN)
   เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ  โดยการรวมเครือข่ายเดียว  ดงนั้นเครือข่ายนี้จึงจะครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการควบคุมพื้นที่กว้าง โดยมีการควบคลุมไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลกเช่นอินเตอร์เนต
ซึ่งถือเป็นสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ

การทำงานของNetwork และ  Internet

รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย (Network Topology)
 การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์
และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอรืในเครือข่ายรวมถึงหลักการไหลเวียนข้อมูลในเครือข่ายรวมถึงหลักการไหลเวียนข้อมูลในเครือข่ายด้วย โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ

เครือข่ายแบบดาว
เครือข่ายแบบวงแหวน
เครือข่ายแบบบัส
เครือข่ายแบบต้นไม้หรือทรี

1.แบบดาว เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถารนีต่างๆมาต่อรวมกันกับหน่วยสลับสายกลาง
การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีที่จะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง
การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศุนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงของสถานีต่างๆ

ลักษณะการทำงานของเครือข่ายแบบดาว
เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับเป็นจุดผ่านการติดต่อระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย
การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาว จะเป็น 2แบบ ทิศทางสามารถอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน

2.แบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานที่ของเครือข่ายทุกสถานีจะเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง
โดยการจะมีการเชื่อมโยงของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่องขยายสัญญาณเหล่านีเมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองจากเครื่องตัวก่อนหน้าและส่งข้อมูลต่อไปยังตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวงหากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานที่ใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งของข้อมูล

3.เครือข่ายแบบแบบบัส (Bus Network)
เป็นเครือข่ายที่เชื่อต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคเบิ้ลยาวต่อไปเรื่อยๆ โดยมีอุปกรณ์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เพียวตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆการจัดส่งข้อมูล
วิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจำทหให้ข้อมูลชนกัรน อุปกรณต่างๆจะถูกเชื่อมด้วยเคเบิลเพียวเส้นเดียว ซึ่งเครือข่ายมีขนาดเล็ก ในองค์กรมีคอมพิวเตอร์ใช้ๆไม่มากนัก

ข้อดีข้อเสียของเครือข่ายแบบบัส

อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่าบัส เมือ่โหนดหนึ่งต้อการส่งข้อมูลไปยังอีกโหนดหนึ่งภายในเครือข่ายจะต้องไปตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าบัสว่างหรือไม่ถ้าหากไม่ว่างก็ไม่สามารถจะส่งข้อมุลออกไปได้ทั้งนี้เพราะสายสื่อสารหลักมีเพียงสายเดียว ในกรณีที่มีข้อมูลวื่งไปมาในบัส ข้อมูลจะวิ่งผ่านโหนดต่างๆไปเรื่อยๆในขณะที่แต่ละโหนดคอยตรวจสอบข้อมูล

4.แบบต้นไม้ (Tree  Network) เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบ
ผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่  การจัดส่งข้อมูลสามารุ
ส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชือม

การประยุกต์ใช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่อง


รูปแบบการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงานได้ 3 ประเภท

1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง (Centralized Network)
2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer - to Peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server

1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
เป็นระบบที่เครื่องหลักเพียงเครือ่งหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล  ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอมินอลที่อยู่รอบๆ ใช้ในการเดินสายเคเบิลเชื่อมต่อกันโดยตรง  เพื่อให้เครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน โดยส่งคำสั่งต่างๆ มาประมลผลที่เครื่องกลางซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง

2.ระบบเครือข่าย  Peer-to-peer
แต่ละสถานีงานระบบเครือข่ายPeer-to-peer จะมีความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้   เช่นการใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย เครื่องแต่ละเครื่องแต่ละสถานีงานมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง  (Stand

3.ระบบเครือข่ายแบบ client/Server

สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายไดเเป็นจำนวนมาก  และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ได้หล่ายสถานี  ทำงานโดยมี  sever ที่ให้มีบริการเป็นศูนย์กลางน้อย 1 เครื่อง แบะมีบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆจากส่วนกลาง  แต่สิ่งที่แตกต่างกันก็คือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบclient/Server
ราคาไม่แพงมาก ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์สมภภถนะสูงในการควบคุมหารให้บริการ
ทรัพยากรต่างๆ